วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซาปิติยินดีกับวันการบินสากล
บทความนี้แปลโดย อรวรรณ ประมวลพร้อม
วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา ได้มีส่วนช่วยเหลือสนับสนุนดังที่ปรากฏให้เห็นถึงความต้องการของกำลังบุคคลากรในภาคอุตสาหกรรมการบิน. วิทยาลัยได้เสนอหลักสูตรและนวัตกรรมสุดพิเศษ เช่น ปริญญาตรีวิชาการบินศาสตร์, ปริญญาตรีด้านการควบคุมการจารจรทางอากาศ, ปริญญาตรีทางด้านการบริหารธุรกิจทางด้านสายการบิน เพื่อเติมเต็มความขาดแคลนของกำลังบุคคลากรทางด้านเทคนิคของภาคอุตสาหกรรมการบิน.
ในโอกาสวันการบินสากล, วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซามีความยินดีขอนำท่านเข้าสู่เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับการกำเนิดของการบิน.
มนุษย์ได้เริ่มคิดที่จะทำการบินตั้งหลายศตวรรษมาแล้ว
ในศตวรรษที่ 16 ลีโอนาร์โด ดา วินซี่ ได้ออกแบบเครื่องบิน
พ.ศ. 2457-2461 (A.D. 1914-1918): สงครามโลกครั้งที่ 1 ได้ทำให้ความต้องการเครื่องบินและนักบินน้อยลงมาก.
ในสหรัฐอเมริกามีเพียง 67 สนามบินที่ยังคงปฏิบัติการอยู่ และอีก 25 สนามบินที่เป็นของทหารอากาศหลังจากสงคราม.
เส้นทางการบินเพื่อส่งจดหมายเส้นทางแรกระหว่างเมืองนิวยอรค์และเมืองวอชิงตัน ดี. ซี. ก่อตั้งขึ้น ณ วันที่ 15 พฤษภาคม 2461 (A.D.1918).
การบินพาณิชย์ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2477 (A.D. 1934) ประกอบด้วยแผนก 2 แผนกคือ: แผนกการเดินอากาศ และแผนกกฏข้อบังคับของการบิน. มาในปี พ.ศ. 2480 (A.D. 1937), การบินพาณิชย์ได้ปรับโครงสร้างมาเป็น 6 แผนก คือ:
- แผนกวิศวกรรมทางอากาศ
- แผนกปฏิบัติการทางอากาศ
- แผนกด้านความปลอดภัยและการวางแผน
- แผนกบริหารและสถิติ
- แผนกการรับรองและการตรวจสอบ
- แผนกกฏข้อบังคบ
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ II นับจากปี พ.ศ. 2482-2488 (A.D. 1939-1945), การบินได้กลายเป็นเครื่องมือที่เป็นคุณประโยชน์ทางยุทธศาสตร์และช่วยให้ฝ่ายสัมพันธมิตรมีอำนาจเหนือฝ่ายอักษะ
ปี พ.ศ. 2485 (A.D. 1942), ตัวแทนจากฝ่ายสัมพันธมิตรในกรุงลอนดอนได้เปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องการขนส่งทางอากาศในอนาคตหลังจากสงครามได้จบสิ้นลง.
สหรัฐอเมริกาได้เชิญ 53 ประเทศและอีก 2 ประเทศเพื่อเป็นประเทศผู้สังเกตุการณ์r (ประเทศไทยและประเทศเดนมาร์คได้รับสิทธ์ในครั้งนี้โดยไม่ต้องลงคะแนนเสียง) เพื่อพบปะประชุมกัน ณ เมืองชิคาโก ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2487 (A.D. 1944).
จาก 52 ประเทศได้ข้อตกลงกันยกเว้นประเทศรัสเซีย. ตัวแทนของ 52 ประเทศได้พิจารณาถึงปัญหาของการบินสากลและได้เห็นพ้องกันที่จะจัดตั้งการบินพลเรือนบนเงื่อนไขมาตรฐานในวันที่ 7 ธันวาคม 2487 (A.D. 1944). จากการเห็นชอบนี้เรียกว่าการประชุมการบินสากล หรือที่นิยมเรียกกันว่า “อนุสัญญาชิคาโก”.
มติเห็นชอบประวัติศาสตร์ได้มีการลงนามหลังสิ้นสุดการประฃุมชิคาโก ที่โรงแรมเซเวน-ชิคาโก ห้องแกรนบอลรูมในสหรัฐอเมริกา ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2487 (A.D. 1944).
การลงนามของการประชุมชิคาโกเป็นผลให้เกิดการสร้างชุดยูนิฟอร์มและเสริมสร้างให้เกิดกฏข้อบังคับการบินสากล. และยังเป็นผลให้เกิดการสร้างองค์กรการบินสากล (ICAO) ณ วันที่ 04 เมษายน 2490 (A.D. 1947) อีกด้วย. เครื่องบินพิเศษของสหประชาชาติซึ่งเป็นเสมือนการรวมไปถึงหลักเกณฑ์และเทคนิคของการเดินอากาศสากลและแผนการณ์ดูแลเพือพัฒนาการขนส่งทางอากาศเพื่อให้มั่นใจถึงความปลอดภัยและความเป็นระเบียบที่เติบโต.
พ.ศ. 2539 (A.D. 1996), จากความร่วมมือของสหประชาชาติได้ประกาศเป็นทางการให้วันที่ 7 ธันวาคมเป็นวันการบินสากลในระบบของสหประชาชาติ. จุดมุ่งหมายของวันการบินสากลก็คือการก่อและเสริมสร้างให้ทั่วโลกตระหนักถึงความสำคัญของการบินสากลสู่สังคมและการพัฒนาทางเศรษฐกิจของรัฐ และจากบทบาทอันพิเศษของ ICAO ในการช่วยเหลือรัฐในการร่วมมือการตระหนักถึงเครือข่ายของการขนส่งที่รวดเร็วมากที่ให้บริการแก่มวลมนุษย์.
ICAO จะฉลองการรำลึกครบรอบทุกๆ 5 ปี (2014/2019/2024/2029/ๆลๆ), และสภา ICAO จะตั้งคำขวัญพิเศษสำหรับวันการบินสากล. ระหว่างปีครบรอบนี้, ตัวแทนของสภาได้คัดเลือกคำขวัญ 1 คำขวัญช่วงระหว่างเวลา 4 ปี.
สำหรับปี 2558-2561 (A.D. 2015-2018) สภาได้เลือกคำขวัญดังต่อไปนี้:
“การทำงานร่วมกันเพื่อเป็นประกันว่าจะไม่มีประเทศใดถูกทอดทิ้ง”
ด้วยการรณรงค์คำพูดที่ว่า จะไม่มีประเทศใดถูกทอดทิ้ง (NCLB) ทำให้ความพยายามของ ICAO เด่นชัดขึ้นที่จะให้ความช่วยเหลือรัฐในการส่งเสริมมาตรฐานของ ICAO และการแนะนำในเรื่องการปฏิบัติ (SARPs). เป้าหมายหลักของงานนี้ช่วยการตั้งมั่นในการส่งเสริมของ SARP ให้ดีขึ้นและกลมกลืนกันไปทั่วโลก เพื่อทุกรัฐจะได้ก้าวหน้าไปสู่ผลพลอยได้ของเศรษฐกิจของความปลอดภัยและความน่าเชื่อถือของการขนส่งทางอากาศ.